ระบบสารสนเทศ (Information System)
วันพุธที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(Decision Support System) เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเรื่องการตัดสินใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน
หรือกึ่งโครงสร้าง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกลุ่ม
นอกจากนั้น ยังมีระบบสนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้เริ่มขึ้นในช่วง
ปี ค.ศ. 1970 โดยมีหลายบริษัทเริ่มที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อที่จะช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน
หรือกึ่งโครงสร้างโดยข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอด ซึ่งระบบสารสนเทศเดิมที่ใช้ในลักษณะระบบการประมวลผลรายการ
(Transaction processing system) ไม่สามารถกระทำได้ นอกจากนั้นยังมีวัตถุประสงค์เพื่อลดแรงงาน
ต้นทุนที่ต่ำลงและยังช่วยในเรื่องการวิเคราะห์การสร้างตัวแบบ (Model) เพื่ออธิบายปัญหาและตัดสินใจปัญหาต่างๆ
จนกระทั่งปี ค.ศ. 1980 ความพยายามในการใช้ระบบนี้เพื่อช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจได้แพร่ออกไป
ยังกลุ่มและองค์การต่างๆ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ คืออะไร
DSS เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ
การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน
นอกจากนั้น DSS ยังเป็นการประสานการทำงานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์
โดยเป็นการกระทำโต้ตอบกัน เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอนหรืออาจกล่าวได้ว่า
DSS เป็นระบบที่โต้ตอบกันโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อหาคำตอบที่ง่าย สะดวก รวดเร็วจากปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน
ดังนั้นระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ จึงประกอบด้วยชุดเครื่องมือ ข้อมูล ตัวแบบ
(Model) และทรัพยากรอื่นๆ ที่ผู้ใช้หรือนักวิเคราะห์นำมาใช้ในการประเมินผลและแก้ไขปัญหา
ดังนั้นหลักการของ DSS จึงเป็นการให้เครื่องมือที่จำเป็นแก่ผู้บริหาร ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีรูปแบบที่ซับซ้อน
แต่มีวิธีการปฏิบัติที่ยืดหยุ่น DSS จึงถูกออกแบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ไม่เพียงแต่การตอบสนองในเรื่องความต้องการของข้อมูลเท่านั้น .
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ : การพัฒนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการขยายตัวขององค์การธุรกิจช่วงทศวรรษ
1970 ทำให้หลายหน่วยงานในสหรัฐอเมริกา ได้เริ่มพัฒนาระบบสารสนเทศที่มีขนาดและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
เพื่อใช้ในการรวบรวมข้อมูลและแบบจำลองในการตัดสินใจต่างๆ ตลอดจนพัฒนาให้ระบบสามารถสื่อสารตอบโต้อย่างฉับพลันกับผู้ใช้
เพื่อช่วยในการตัดสินใจในปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง โดยที่แนวความคิดนี้ได้เป็นรากฐานของการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(Decision Support Systems) หรือที่นิยมเรียกว่า DSS ในปัจจุบัน
ตั้งแต่เริ่มการพัฒนา DSS มีนักวิชาการหลายท่านได้อธิบายความหมาย DSS เช่น
Gerrity (1971) ได้ให้ความหมายไว้ว่า
DSS คือ การผสมผสานอย่างเหมาะสมระหว่างความมีเหตุผลของมนุษย์กับเทคโนโลยีสารสนเทศและชุดคำสั่งที่นำมาใช้โต้ตอบ
เพื่อแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อน ความหมายนี้จะอธิบายภาพรวมเชิงปรัชญา ซึ่งครอบคลุมลักษณะพื้นฐานของ
DSS แต่ยังไม่สามารถให้คำอธิบายลักษณะของปัญหาที่จะต้องแก้ไขโดยอาศัย DSS เข้าช่วย
หรือให้ภาพที่ชัดเจนของ DSS
Kroenke และ Hatch (1994) ได้นำความหมายเดิมมาปรับปรุงและเสนอว่า
DSS คือ ระบบโต้ตอบฉับพลันที่สนับสนุนโดยคอมพิวเตอร์ซึ่งนำมาช่วยอำนวยความสะดวกในการตัดสินปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง ในความหมายนี้ได้มีนักวิชาการหลายท่านวิจารณ์ว่า
DSS สมควรที่จะช่วยผู้บริหารในการตัดสินปัญหาทั้งแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
ไม่เพียงเฉพาะปัญหาแบบใดแบบหนึ่งเท่านั้น
Laudon และ Laudon
(1994) อธิบายว่า DSS คือ ระบบคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้ในระดับบริหารของแต่ละองค์การ
โดยระบบจะประกอบด้วยข้อมูลและแบบจำลองในการตัดสินใจที่ซับซ้อน เพื่อนำมาสนับสนุนการตัดสินปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
ดังนั้นสรุปความหมายของ
DSS ได้ว่า คือ ระบบสารสนเทศที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้โดยที่ระบบนี้จะรวบรวมข้อมูล และแบบจำลองในการตัดสินใจที่สำคัญ
เพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง และไม่มีโครงสร้าง
ปกติ DSS จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจของผู้บริหารโดย
1) ประมวลและเสนอข้อมูลการตัดสินใจแก่ผู้บริหารเพื่อใช้ทำความเข้าใจและเป็นแนวทางในการตัดสินใจ
2) ประเมินทางเลือกที่เหมาะสม ภายใต้ข้อจำกัดของแต่ละสถานการณ์
ซึ่งจะช่วยผู้บริหารในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบทางเลือกให้สอดคล้องกับปัญหาหรือสถานการณ์ที่สุด
ปกติ DSS จะช่วยผู้บริหารทดสอบทางเลือกในการตัดสินใจ
โดยตั้งคำถาม “ถ้า.....แล้ว....(What….if….)” อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้เทคโนโลยีของ
DSS ยังช่วยให้ผู้บริหารมีทางเลือกที่จะตอบสนองต่อปัญหาอย่างหลากหลาย มิต้องถูกจำกัดโดยทางเลือกที่เป็นไปได้เพียงไม่กี่ลักษณะเนื่องจากข้อจำกัดของระยะเวลา
หรือเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล ประการสำคัญ DSS จะไม่ทำการตัดสินใจแทนผู้บริหาร แต่จะประมวลผลและนำเสนอข้อมูลที่สำคัญต่อการตัดสินใจ
ขณะที่ผู้บริหารจะต้องกระทำการตัดสินใจโดยใช้สติปัญญา เหตุผล ประสบการณ์และความคิดสร้างสรรค์ของตนเองเป็นหลัก
ระบบสารสนเทศสำหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ (Group Decision Support Systems-GDSS)
GDSS เป็นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งของ
DSS ซึ่งมีลักษณะเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะโต้ตอบได้ (interactive) ในการสนับสนุนงานแก้ไขปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง
สำหรับผู้ตัดสินใจที่ทำงานกันเป็นกลุ่ม (De Santi & Gallespe, 1987) เป้าหมายของ
GDSS คือการปรับปรุงประสิทธิภาพการประชุมและการตัดสินใจ หรือทั้งสองอย่าง โดยการช่วยสนับสนุนการแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นภายในกลุ่ม ช่วยกระตุ้นความคิด ระดมความคิด และการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ประเภทของ GDSS
GDSS มีหลายประเภท การนำไปใช้ขึ้นอยู่กับโครงสร้างขององค์การ ที่อยู่ของผู้ตัดสินใจ
และชนิดของการตัดสินใจ ในที่นี้แบ่งเป็น 4 ประเภท (Stair & Reynolds, 1999)
1) แบบห้องการตัดสินใจ (Decision room) ห้องการตัดสินใจจะเหมาะสมกับสถานการณ์ที่ผู้ตัดสินใจอยู่ในห้องเดียวกัน
หรืออยู่ในบริเวณเดี่ยวกัน และจัดให้คนเหล่านี้มาอยู่รวมกันในห้องเดียวกัน โดยห้องจะมีลักษณะเป็นห้องประชุมซึ่งมีเครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจ
เช่น จอภาพใหญ่ที่ใช้แสดงสารสนเทศต่างๆ และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ประจำที่นั่งของผู้เข้าร่วม
ประชุมโดยโต๊ะอาจทำเป็นรูปตัวยู (U-shaped)
2) การตัดสินใจโดยใช้เครือข่ายวงแลน (Local Area Decision
Network) เครือข่ายการตัดสินใจแบบนี้ใช้เมื่อกลุ่มผู้ตัดสินใจอาศัยอยู่ในกลุ่มเดียวกัน
หรือบริเวณใกล้เคียงกัน และต้องทำการตัดสินใจบ่อยๆ ส่วนประกอบเหมือนแบบแรก แต่จะมีกล้องวีดีโอเพื่อจะถ่ายภาพการอภิปรายของห้องหนึ่งและถ่ายทอดไปยังอีกห้องหนึ่ง
รวมทั้งมีเครือข่าย ในการเชื่อมโยงข้อมูลกันโดยอาจใช้วงแลน (Local Area Network) ถ้าห้องไม่อยู่ห่างไกลกันมาก
เพื่อที่จะทำให้ผู้ตัดสินใจในแต่ละห้องสามารถใช้สารสนเทศพร้อมๆ กันได้
3) การประชุมทางไกล (Teleconferencing) เป็นการจัดประชุมทางไกล ในกรณีที่ไม่ได้มีการตัดสินใจบ่อยครั้ง
และผู้ตัดสินใจอยู่ไกลกัน การประชุมจะมีการเชื่อมโยง กับห้องการตัดสินใจแบบ GDSS หลายห้องซึ่งอาจจะ
อยู่คนละประเทศหรือคนละมุมโลกก็ได้ วิธีการแบบนี้ค่อนข้างมีความยืดหยุ่นสูง
4) เครือข่ายการตัดสินใจ WAN (Wide Area Decision Network) เป็นเครือข่ายการตัดสินใจในกรณีที่การตัดสินใจเกิดขึ้นบ่อยครั้ง
และผู้ตัดสินใจอยู่ห่างไกลสถานการณ์ดังกล่าวจึงทำให้มีการใช้ GDSS โดยเชื่อมโยงกับเครือข่ายแบบ
WAN
ประโยชน์ของ GDSS ที่มีต่อการประชุมมีดังนี้
1) ทำให้การมีส่วนร่วมในการประชุมเพิ่มขึ้น เพราะผู้เข้าร่วมประชุมสามารถแสดงความเห็นได้พร้อมกัน
ไม่จำเป็นต้องแสดงความเห็นทีละคน จึงทำให้การใช้เวลาในการประชุมมีประสิทธิภาพมากกว่าการประชุมแบบดั้งเดิม
2) สร้างบรรยากาศของความร่วมมือ กล่าวคือ ความเห็นหรือข้อมูลที่ผู้เข้าร่วมประชุมแสดงออกไป
GDSS จะไม่เปิดเผยชื่อ ดังนั้นสมาชิกจึงสามารถแสดงความเห็นได้อย่างอิสระโดยเฉพาะเมื่อมีสมาชิกมีสถานะแตกต่างกันมาเข้าประชุมด้วยกัน
จึงทำให้แรงกดดันทางสังคมในที่ประชุมลดลง
3) การประเมินมีลักษณะเป็นวัตถุวิสัยมากขึ้น (Evaluation
Objectivity) การไม่เปิดชื่อของผู้แสดงความคิดเห็นทำให้การวิจารณ์เป็นไปได้โดยไม่มีอคติต่อแหล่งที่มาของข้อมูลและช่วยกระตุ้นความเห็นใหม่ๆ
ระหว่างกระบานการประเมินผลด้วย
4) ช่วยให้มีการเข้าถึงแหล่งข้อมูลภายนอกได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ลดปัญหาข้อขัดแย้งเกี่ยวกับการมีข้อมูลไม่ตรงกัน
5) ผลของการประชุมมีการบันทึกไว้ และสามารถใช้เป็นข้อมูลสำหรับการประชุมของชุดอื่นได้
ทำให้เกิดการสร้างความจำขององค์การ (Organization memory) ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับหน่วยงานต่างๆ
ภายในองค์การได้ ดังนั้น
GDSS จะช่วยทำให้การประชุมมีประสิทธิภามากขึ้นดีกว่าการประชุมที่พบหน้ากัน
(face-to-face meeting) โดยเฉพาะการประชุมที่เกี่ยวข้องกับงานที่ต้องมีการ เสนอความคิดใหม่ๆ
หรือปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน และการประชุมที่มีขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามประโยชน์ที่จะได้รับจาก
GDSS ขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่นประกอบด้วย เช่น ลักษณะของกลุ่มวัฒนธรรมองค์การ และลักษณะปัญหาที่นำเสนอต่อกลุ่ม
คำแปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษของข้อมูลมีดังต่อไปนี้
.
Decision support systems (Decision Support System).
Decision
support systems (Decision Support System)
is one of subsystems in information
systems management. The decision support system to help managers in making
decisions in business activity , event or unstructured course . Or
semi-structured Decision support systems may be used with a single individual
or to a group decision support but also the support system to help executive
management in strategic decisions .
Decision
Support System Began in the 1970s, many companies have begun to develop an
information system to help the management in decision making problems with no
structure. Or semi- structured data is changed forever . This system was used
in the transaction processing system (Transaction processing system) is not
possible . It also aims to reduce the workforce. Lower cost and also helps in
the modeling analysis (Model) to describe the problem and decide the issue
until 1980, an attempt to use the system to assist in supporting the decision
has spread . To groups and organizations
What is a Decision Support System
DSS is a software that
helps in making decisions about the deal . Crawl Analysis And modeling the
complex. Moreover, under the same software DSS also coordinate the work between
people and technology software. Actions by interacting To solve unstructured
And under the control of the user from start to finish or can be said that DSS
is a system interact with each other using a computer. Easy and convenient to
find answers to problems that have no structure. So the decision support system
It consists of a set of tools to model (Model) , and other resources . Users or
analysts used to evaluate and solve problems. Therefore, the principle of DSS ,
thus providing the tools necessary for executives . In the analysis of data
with complex patterns . But a practical approach to flexible DSS is designed to
enhance work efficiency . Not only meet the current needs of information only.
Decision Support System : The development of
information technology and the expansion of the business organization during
the 1970s led many agencies in the United States . Began developing information
systems and technologies that are appropriate . For use in data collection and
modeling of various decisions . As well as developing the system to counter the
sudden communication with the user. To help you decide on the semi-structured
and unstructured data. The concept has been a cornerstone of the development of
decision support systems (Decision Support Systems) or popularly known as DSS
today.
Since DSS has developed many scholars
have explained the meaning as DSS .
Gerrity (1971) has the meaning that
DSS is a blend between realistic human right to information technology and
command set used interactively. To solve the complex . This definition is a
philosophical overview . Which covers the basic characteristics of the DSS ,
but not yet able to explain the nature of the problem to be solved by the DSS
to help or give a clear picture of the DSS.
Kroenke
and Hatch (1994) has brought significant improvements to the existing and
proposed that DSS is an interactive spontaneous supported by computers , which
used to help facilitate the unstructured decision problems . In this sense ,
many scholars have commented that you deserve to DSS allows administrators to
decide the issue , both semi-structured and unstructured data. Not just one
issue only.
Laudon
and Laudon (1994) explained that DSS is a computer system used in the
management of each organization. The system will consist of data and model
complex decisions . The decision to support semi-structured and unstructured
problems .
So
the conclusion is that the definition of DSS is an information system that can
interact with the user by this system to collect information . And models in
key decisions . To assist management in semi-structured decision problems . And
unstructured
Normal DSS helps increase efficiency in
the management decision .
1 ) Processing and decision-making information to management
. To understand and guide the decision.
2 ) Evaluate the right choice . Under the constraints of the
situation. This enables administrators to analyze and compare alternatives in
accordance with the problem or situation .
Normal
DSS helps administrators to test alternatives to the decision by the question ,
"If ..... then .... (What .... if ....)" effectively. Moreover, the
technology of DSS also allows administrators have the option to respond to a
variety of problems . Not to be limited by the choice of possible just a few
attributes due to the limitation of the period. Important DSS or data analysis
techniques will not make decisions on behalf of the administration. But to
process and present information that is critical to decision making. However,
management decisions must be made with wisdom, reason, experience and
creativity of their mind.
Information systems for group decision
making (Group Decision Support Systems-GDSS).
GDSS is one of the DSS
system , which is a computer system with an interactive manner . (interactive)
in support of unstructured problems . The decision to work together as a group
(De Santi & Gallespe, 1987) The goal is to improve the performance of GDSS
meetings and decisions. Or both By helping to support the exchange Comments
within Stimulate thinking , brainstorming and resolve conflicts .
Type of GDSS
GDSS are several types of
adoption depends on the structure of the organization. The decision of the And
the type of decision Here are divided into 4 categories (Stair & Reynolds,
1999).
1 ) a decision (Decision room) to a decision
appropriate to the situation where the decision is in the same room. Or in the
same area as well And these people come together in the same room. The room
will have a meeting with a tool that helps in deciding such a large screen that
displays various information . , And a regular seat of the participants.
Conference table may be U-shaped (U-shaped).
2 ) the decision by the network LAN (Local Area Decision
Network) is a network of decision-
making on group living in the same group. Or similar And often must make
decisions Like the first component But is there a camera to take pictures of
one room discussions , and transferred to another room. Including the network
Linking information may be used by the LAN (Local Area Network) If the room is
not very far apart . In order to make a decision in each room can use
information simultaneously .
3 ) A teleconference (Teleconferencing) will hold a
conference call . In no case was decided often. And the decision is far The
conference will include a link . GDSS decision room with several rooms that may
be. In different countries or different the world was . This approach is quite
flexible.
4 ) network decisions WAN (Wide Area Decision Network) is a network
decision if the decision occurs frequently . And decision makers in such
situations , thus far, has been used in connection with GDSS network WAN.
Benefits of GDSS towards meeting is as follows.
1 ) to participate in the Meeting. Because attendees can
comment once. No need to comment individually . It makes use of the time in
meetings more efficient than the traditional conference .
2 ) create an atmosphere of cooperation , that is, comments
or information to show attendees will GDSS anonymity. So members can comment
freely, particularly when a member has a different state to attend together.
Therefore, social pressure drop in the meeting .
3 ) assessment is a more objective (Evaluation Objectivity)
did not furnish the names of the comments made by critics is without
prejudice to the source of information and help stimulate new comments . Be
evaluated with the bloom .
4 ) allows access to external data sources quickly.
Minimizes conflicts with information about the mismatch.
5 ) The results of the meeting are recorded . And can be
used for meetings of the others. Cause the creation of organizational memory .
(Organization memory) , which would be useful information for other agencies.
Within the organization , so
GDSS helps make meetings
more efficient solutions than those found at each meeting . (face-to-face
meeting) , especially related to the work that needs to be. Offer new ideas Or
the problems are complex. And the conference at large . However, the benefits
it receives from GDSS depends on other factors such as the nature of the group
consisting of organizational culture . And the problems presented to the group.
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(Decision Support System)
Decision support system
A Decision Support System (DSS) is a computer-based
information system that supports business or organizational decision-making
activities. DSSs serve the management, operations, and planning levels of an
organization (usually mid and higher management) and help to make decisions,
which may be rapidly changing and not easily specified in advance (Unstructured
and Semi-Structured decision problems). Decision support systems can be either
fully computerized, human or a combination of both.
While academics have
perceived DSS as a tool to support decision making process, DSS users see DSS
as a tool to facilitate organizational processes.[1] Some authors have extended
the definition of DSS to include any system that might support decision
making.[2] Sprague (1980) defines DSS by its characteristics:
1 ) DSS tends to be
aimed at the less well structured, underspecified problem that upper level
managers typically face;
2 ) DSS attempts to
combine the use of models or analytic techniques with traditional data access
and retrieval functions;
3 ) DSS specifically
focuses on features which make them easy to use by noncomputer people in an
interactive mode; and
4 )DSS emphasizes
flexibility and adaptability to accommodate changes in the environment and the
decision making approach of the user.
DSSs include
knowledge-based systems. A properly designed DSS is an interactive
software-based system intended to help decision makers compile useful
information from a combination of raw data, documents, and personal knowledge,
or business models to identify and solve problems and make decisions.
Typical information that a decision support application
might gather and present includes:
1 ) inventories of
information assets (including legacy and relational data sources, cubes, data
warehouses, and data marts),
2 ) comparative sales
figures between one period and the next,
3 ) projected revenue
figures based on product sales assumptions.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)